customer-journey sklsongkiat.com หมวดหมู่บทความ




Image

สรุปความเข้าใจ Customer Journey และการใช้ Customer Journey Map

Customer Journey สรุปให้เข้าใจสั้นๆ เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ การเดินทางของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการกับธุรกิจของเรา ซึ่งก่อนที่ลูกค้าจะมาซื้อสินค้าหรือบริการของธุรกิจนั้น พบเจอกับเหตุการณ์อะไร ซึ่งจะนำสิ่งที่ได้วิเคราะห์จากข้อมูลเหล่านี้ มาพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ให้ดีมากยิ่งขึ้น

อ่านต่อ
Image

Introduction Service Design Innovation

Introduction Service Design Innovation หรือ Service Design คือ กระบวนการดำเนินการของบุคคลหรือองค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคลอื่น ให้ได้รับความสุข ความสะดวกสบาย หรือ ความพึงพอใจจากการกระทำนั้นๆ

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Discover เทคนิค Service Safari

เทคนิคการทำ Service Safari เป็นขั้นตอน Discover เป็นการเก็บข้อมูลเพื่อเข้าใจลูกค้า

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Discover เทคนิค Self-Discovery Study

Self-Discovery Study สำหรับเทคนิคนี้จะทำในช่วง Empathize หรือ Discover ซึ่งเป็นขั้นตอนถัดจาก Service Safari ซึ่งในการทำ Self-Discovery Study นั้นจะเป็นการให้ผู้ใช้เขียนเรื่องราวของผู้ถูกเก็บข้อมูลด้วยตนเอง แล้วจากนั้นก็นำข้อมูลที่เขียน หรือข้อมูลเล่าเรื่อง นั้นส่งมาให้ทีมงาน

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Discover เทคนิค Contextual Interview and Observation

Contextual Interview and Observation เป็นเทคนิคมนการเข้าไปเก็บข้อมูลผู้ใช้ ในสถานที่จริง ที่ผู้ใช้ประกอบกิจกรรมนั้น ๆ เช่น ไปเก็บข้อมูลที่ร้านอาหารของผู้ใช้ใช้บริการเป็นประจำ

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Define เทคนิค Typology And Persona

สำหรับเทคนิคนี้ คือ การจัดแยกประเภทข้อมูล กลุ่มคน สินค้า บริการและโอกาสการใช้งานต่างๆ ที่ช่วยให้ทีมมองเห็นโอกาสในการออกแบบบริการใหม่และมีเป้าหมายหรือโจทย์การบริการร่วมกัน โดยเทคนิคนี้จะทำใช้ช่วงต้นของ Define

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Define เทคนิค Journey Map

สำหรับเทคนิคนี้ คือ แผนผังแสดงกิจกรรมและความรู้สึกในการใช้บริการตั้งแต่ต้นจนจบ ควรที่จะทำหลังจากเก็บข้อมูลและเริ่มระบุกลุ่มเป้าหมายได้แล้ว ซึ่งช่วยให้ทีมเข้าใจภาพรวมของประสบการณ์การใช้บริการ ในแต่ละมิติ เช่น Pain Point, Gain และ สามารถระบุโอกาสในการสร้างนวัตกรรมการบริการได้

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Define เทคนิค Stakeholder Map

สำหรับเทคนิคนี้ จะเป็นแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของผู้ที่มีส่วนร่วมในโครงการ ควรจะใช้เทคนิคนี้ในช่วง Define เพื่อวิเคราะห์ระบบบริการที่มีอยู่ และ ในช่วง Ideate เพื่อการคิดระบบบริการใหม่ ซึ่งจะช่วยให้ทีมเห็นภาพรวมและบทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องเอื้อให้ระบุจุดที่ซ้ำซ้อน และ เป็นปัญหาในการสร้างบทบาทหรือคุณค่าใหม่ๆได้

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Develop เทคนิค Morphological Chart

Morphological Chart สำหรับเทคนิคนี้เป็นวิธีการสร้างแนวคิดแก้ปัญหาย่อย ๆ ที่หลากหลายและรวบผสานกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งควรใช้ในช่วงการสังเคราะห์ Ideate เมื่อวิเคราะห์สรุปความต้องการของโครงการเรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้ทีมสร้างแนวคิดบริการที่หลากหลายและสมบูรณ์จำนวนมากอย่างรวดเร็ว

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Develop เทคนิค Scenario Design

Scenario Design สำหรับเทคนิคนี้ เป็นเทคนิคการคิดสร้างสรรค์ โดยใช้การเล่าเรื่องเป็นเครื่องมือหลักในการสื่อสาร จะเป็นการเล่าเรื่องแสดงขั้นตอนการใช้บริการ ซึ่งควรได้ทั้งเพื่อสรุปบริการที่มีอยู่และเพื่อสร้างแนวคิดการบริการใหม่ และช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจประสบการณ์การใช้บริการทั้งหมดอย่างรวดเร็ว

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Develop เทคนิค Service Blueprint

Service- Blueprint สำหรับเทคนิคนี้ เป็นเทคนิคสุดท้ายของขั้นการ Develop หรือ Ideate ซึ่งเป็นการแสดงโดยแผนผังทั้งหมดแสดงกระบวนการทำงานของผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบบริการควรทำในช่วงท้ายของช่วง Ideate หรือ Develop ซึ่งเทคนิคนี้จะช่วยให้สามารถพัฒนากระบวนการทำงานของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งมอบบริการที่มีคุณภาพ

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Deliver เทคนิค Service Prototyping

สำหรับเทคนิคนี้ คือ การสร้างต้นแบบ Touchpoints และจำลองสถานการณ์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทดลองสัมผัสการบริการ ใช้ทดสอบและพัฒนาการบริการในช่วง Prototype & Test เพื่อเตรียม Deliver เอื้อให้ทีมสามารถสังเกตและสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายขณะทดลองสัมผัสต้นแบบการบริการใหม่

อ่านต่อ
Image

การทำ Service Design ในช่วง Develop เทคนิค Sementic Differential Scale

สำหรับเทคนิคนี้ เป็นการประเมินการรับรู้คุณค่าที่เป็นนามธรรมโดยใช้คำคุณศัพท์สองขั้ว โดยที่ควรใช้เมื่อทีมได้พัฒนารวมผสานและคัดกรองแนวคิดจนเหลือ 2 – 3 แนวคิดที่ดีที่สุดแล้ว เพื่อเอื้อให้สามารถเปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าการบริการที่เป็นนามธรรมในรูปตัวเลขที่คำนวนได้

อ่านต่อ