เทคนิคการทำ Service Safari เป็นขั้นตอน Discover เป็นการเก็บข้อมูลเพื่อเข้าใจลูกค้า
อ่านต่อSelf-Discovery Study สำหรับเทคนิคนี้จะทำในช่วง Empathize หรือ Discover ซึ่งเป็นขั้นตอนถัดจาก Service Safari ซึ่งในการทำ Self-Discovery Study นั้นจะเป็นการให้ผู้ใช้เขียนเรื่องราวของผู้ถูกเก็บข้อมูลด้วยตนเอง แล้วจากนั้นก็นำข้อมูลที่เขียน หรือข้อมูลเล่าเรื่อง นั้นส่งมาให้ทีมงาน
อ่านต่อContextual Interview and Observation เป็นเทคนิคมนการเข้าไปเก็บข้อมูลผู้ใช้ ในสถานที่จริง ที่ผู้ใช้ประกอบกิจกรรมนั้น ๆ เช่น ไปเก็บข้อมูลที่ร้านอาหารของผู้ใช้ใช้บริการเป็นประจำ
อ่านต่อสำหรับเทคนิคนี้ คือ การจัดแยกประเภทข้อมูล กลุ่มคน สินค้า บริการและโอกาสการใช้งานต่างๆ ที่ช่วยให้ทีมมองเห็นโอกาสในการออกแบบบริการใหม่และมีเป้าหมายหรือโจทย์การบริการร่วมกัน โดยเทคนิคนี้จะทำใช้ช่วงต้นของ Define
อ่านต่อสำหรับเทคนิคนี้ จะเป็นแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของผู้ที่มีส่วนร่วมในโครงการ ควรจะใช้เทคนิคนี้ในช่วง Define เพื่อวิเคราะห์ระบบบริการที่มีอยู่ และ ในช่วง Ideate เพื่อการคิดระบบบริการใหม่ ซึ่งจะช่วยให้ทีมเห็นภาพรวมและบทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องเอื้อให้ระบุจุดที่ซ้ำซ้อน และ เป็นปัญหาในการสร้างบทบาทหรือคุณค่าใหม่ๆได้
อ่านต่อMorphological Chart สำหรับเทคนิคนี้เป็นวิธีการสร้างแนวคิดแก้ปัญหาย่อย ๆ ที่หลากหลายและรวบผสานกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งควรใช้ในช่วงการสังเคราะห์ Ideate เมื่อวิเคราะห์สรุปความต้องการของโครงการเรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้ทีมสร้างแนวคิดบริการที่หลากหลายและสมบูรณ์จำนวนมากอย่างรวดเร็ว
อ่านต่อScenario Design สำหรับเทคนิคนี้ เป็นเทคนิคการคิดสร้างสรรค์ โดยใช้การเล่าเรื่องเป็นเครื่องมือหลักในการสื่อสาร จะเป็นการเล่าเรื่องแสดงขั้นตอนการใช้บริการ ซึ่งควรได้ทั้งเพื่อสรุปบริการที่มีอยู่และเพื่อสร้างแนวคิดการบริการใหม่ และช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจประสบการณ์การใช้บริการทั้งหมดอย่างรวดเร็ว
อ่านต่อService- Blueprint สำหรับเทคนิคนี้ เป็นเทคนิคสุดท้ายของขั้นการ Develop หรือ Ideate ซึ่งเป็นการแสดงโดยแผนผังทั้งหมดแสดงกระบวนการทำงานของผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบบริการควรทำในช่วงท้ายของช่วง Ideate หรือ Develop ซึ่งเทคนิคนี้จะช่วยให้สามารถพัฒนากระบวนการทำงานของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งมอบบริการที่มีคุณภาพ
อ่านต่อสำหรับเทคนิคนี้ คือ การสร้างต้นแบบ Touchpoints และจำลองสถานการณ์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทดลองสัมผัสการบริการ ใช้ทดสอบและพัฒนาการบริการในช่วง Prototype & Test เพื่อเตรียม Deliver เอื้อให้ทีมสามารถสังเกตและสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายขณะทดลองสัมผัสต้นแบบการบริการใหม่
อ่านต่อสำหรับเทคนิคนี้ เป็นการประเมินการรับรู้คุณค่าที่เป็นนามธรรมโดยใช้คำคุณศัพท์สองขั้ว โดยที่ควรใช้เมื่อทีมได้พัฒนารวมผสานและคัดกรองแนวคิดจนเหลือ 2 – 3 แนวคิดที่ดีที่สุดแล้ว เพื่อเอื้อให้สามารถเปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าการบริการที่เป็นนามธรรมในรูปตัวเลขที่คำนวนได้
อ่านต่อ“Vuex is a state management pattern + library for Vue.js applications.” เป็น Library ตัวหนึ่งที่นำมาใช้ในโปรเจค Vue.js โดยประโยชน์ของมันคือ การนำสร้างเป็น Store เพื่อมาจัดการ Data Flow และ State Data ที่อยู่ใน Component ช่วยจัดการ Code ที่ซ้ำซ้อนและจัด Code ให้เป็นระบบมากขึ้น
อ่านต่อบันทึกขั้นตอนการเชื่อมต่อ template กับ laravel framework
อ่านต่อบันทึกขั้นตอนการติดตั้ง Laravel เครื่อง Mac ด้วย Docker แบบ Development Environment
อ่านต่อบันทึกขั้นตอนการจัดการฐานข้อมูล laravel ด้วยคำสั่ง artisan
อ่านต่อบันทึกการสร้าง pattern authen ด้วย artisan ที่ง่ายมากๆ
อ่านต่อบันทึกการสร้าง Controller และ View ของ Laravel
อ่านต่อสำหรับเทคนิคนี้ คือ แผนผังแสดงกิจกรรมและความรู้สึกในการใช้บริการตั้งแต่ต้นจนจบ ควรที่จะทำหลังจากเก็บข้อมูลและเริ่มระบุกลุ่มเป้าหมายได้แล้ว ซึ่งช่วยให้ทีมเข้าใจภาพรวมของประสบการณ์การใช้บริการ ในแต่ละมิติ เช่น Pain Point, Gain และ สามารถระบุโอกาสในการสร้างนวัตกรรมการบริการได้
อ่านต่อในบทความนี้อยากจะบันทึกวิธีการทำเอาไว้หลังจากที่ได้ทดลองและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการทำ Event Handle การสื่อสารระหว่าง Component child ไปยัง Component Parent หรือ Component Parent ไปยัง Component child
อ่านต่อใน Laravel Framework นั้นมี Service หนึ่งที่อำนวยความสะดวกในการ Single Action ที่เรียกว่า Invokable Controller มันได้เตรียม Method ที่เอาไว้ใช้สำหรับ API หรือ การเรียกข้อมูลเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้นเอาไว้ให้
อ่านต่อ[Laravel] Relations Factory หากต้องการสร้าง data จำลองสำหรับทดสอบแบบที่มีความสัมพันธ์กันคงจะดีไม่น้อย
อ่านต่อสำหรับ Index Laravel Blog นี้เป็นการรวบรวมบทความของ Laravel ที่ผู้เขียนได้เขียนเอาไว้ให้ค้นหาและเปิดอ่านได้ง่ายขึ้น
อ่านต่อ[Laravel] Data Factory คลิ๊กเดียวชีวิตง่ายขึ้น หากต้องการทดสอบข้อมูล วิธีการต่างๆในบทความนี้จะช่วยให้คุณ คนที่ใช้ Laravel Framework ประหยัดเวลาไปได้มากเลยทีเดียว
อ่านต่อIntroduction Service Design Innovation หรือ Service Design คือ กระบวนการดำเนินการของบุคคลหรือองค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคลอื่น ให้ได้รับความสุข ความสะดวกสบาย หรือ ความพึงพอใจจากการกระทำนั้นๆ
อ่านต่อในบทความนี้ มาพูดถึงวิธีการส่งข้อมูลเข้าไปในระบบและวิธีการใช้เครื่องมือที่เอาไว้ติดต่อกับ ระบบ NestJs ของเรา
อ่านต่อCaching เป็นเทคนิคพื้นฐานที่ใช้บ่อย ถูกใช้อยู่ในหลายๆส่วนทั้งในการระบบ network อย่าง Proxy server หรือเรียกกันว่า cache server หรือแม้การทำ Web cache ที่ช่วยให้โหลดหน้าเว็บเก็บไว้ที่ memory ของ browser ซึ่งทั้งหมดนี้สามารถช่วยให้ประสิทธิภาพการใช้งานของแอปพลิเคชันนั้นมีความรวดเร็วขึ้น มันเป็นการเก็บข้อมูลชั่วคราวเอาไว้ที่ data store เพื่อการเข้าถึงข้อมูลเดิมที่ถูกเรียกบ่อยๆได้อย่างรวดเร็ว ทั้งยังลด workload ในการไป query ข้อมูลจาก database อีกด้วย แต่สำหรับบทความนี้จะพูดการ cache เมื่อมีการเรียกใช้ API เท่านั้นด้วย NestJS
อ่านต่อDatabase มีให้เลือกใช้มากมาย ตามความเหมาะสมกับงานที่ใช้ NestJS เป็น Library ตัวหนึ่งที่เชื่อมต่อกับฐานข้อมูลได้ทั้ง MySQL, MongoDB หรือ Postgres แต่สำหรับบทความนี้ ขอกล่าวเฉพาะ MySQL ซึ่งเป็น Database แบบ Relation ในการจะ integrate MySQL Database จะใช้ driver หรือ method ที่ชื่อ TypeORM
อ่านต่อถ้าข้อมูลในระบบหรือแอปพลิเคชันของคุณนั้น ไม่ได้สำคัญและคุณก็ไม่ได้สนใจว่าต้องปลอดภัย เดาว่าส่วนใหญ่ระบบพวกนั้นคงจะเป็น Toy Project แต่สำหรับโลกแห่งความเป็นจริงนั้น data ที่เป็นเรื่องที่สำคัญมากๆ จำเป็นจะต้องถูกป้องกันและปกป้องภายใต้ระบบที่มีความปลอดภัยและน่าเชื่อถือเพราะ การเกิดข้อผิดพลาดเพียงเล็กน้อยก็อาจทำให้เกิดความเสียหายได้ดังนั้น การทำ Data Validation นั้นจึงสำคัญ
อ่านต่อถ้าข้อมูลในระบบหรือแอปพลิเคชันของคุณนั้น ไม่ได้สำคัญและคุณก็ไม่ได้สนใจว่าต้องปลอดภัย เดาว่าส่วนใหญ่ระบบพวกนั้นคงจะเป็น Toy Project แต่สำหรับโลกแห่งความเป็นจริงนั้น data ที่เป็นเรื่องที่สำคัญมากๆ จำเป็นจะต้องถูกป้องกันและปกป้องภายใต้ระบบที่มีความปลอดภัยและน่าเชื่อถือเพราะ การเกิดข้อผิดพลาดเพียงเล็กน้อยก็อาจทำให้เกิดความเสียหายได้ดังนั้น การทำ Data Validation นั้นจึงสำคัญ
อ่านต่อCron ถูกย่อมาจาก Chronograph เป็นคำเรียกของฟังก์ชันจับเวลาที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ที่พูดถึงคำนี้ก็ไม่ได้จะพามาเรียนภาษากรีกแต่อย่างใด เพียงแค่มันเป็นชื่อโปรแกรมที่อยู่ในระบบปฏิบัติการของระบบ Unix ที่สามารถออกแบบการกำหนดเวลาไว้ล่วงหน้าได้เท่านั้น
อ่านต่อ[NestJS] Request-Reply ง่ายๆด้วย NestJS สมมติว่ามีข้อมูลที่ต้องส่งไปให้ Server ก้อนใหญ่สักก้อนนึง เช่น 100,000 ข้อความ (ลองคิดดูว่า ถ้าต้องส่งข้อมูล จำนวน 100,000 ข้อความไปให้ Serverในครั้งเดียว Server ก็คงทำงานไม่ทันแน่ๆ)
อ่านต่อบทความนี้ผู้เขียนอยากจะบันทึกวิธีการ Insert Data สำหรับ TypeORM ที่ใช้ใน NestJS
อ่านต่อหากว่า User เรียกผ่าน Browser ด้วย End-Point URL หนึ่งจะพบว่าหน้าจอไม่เกิดอะไรขึ้น ภายใต้จิตสำนึกของมนุษย์อะไรที่ช้า หรือ ค้างไปนานๆ เพียงแค่ 3 นาทีก็จะไม่รอ ปิดระบบหรือเลิกใช้ไปเลย นี้คือความน่ากลัวในฝั่ง Business ซึ่งจริงๆแล้วระบบไม่ได้ไม่ทำงาน แต่เกิดข้อผิดพลาดที่ไม่ได้แจ้งเตือนให้ใครทราบต่างหาก ดังนั้นสิ่งนี้จึงเป็นปัญหา มาทำให้เกิด User-Friendly Response กันเถอะ
อ่านต่อหากว่า User เรียกผ่าน Browser ด้วย End-Point URL หนึ่งจะพบว่าหน้าจอไม่เกิดอะไรขึ้น ภายใต้จิตสำนึกของมนุษย์อะไรที่ช้า หรือ ค้างไปนานๆ เพียงแค่ 3 นาทีก็จะไม่รอ ปิดระบบหรือเลิกใช้ไปเลย นี้คือความน่ากลัวในฝั่ง Business ซึ่งจริงๆแล้วระบบไม่ได้ไม่ทำงาน แต่เกิดข้อผิดพลาดที่ไม่ได้แจ้งเตือนให้ใครทราบต่างหาก ดังนั้นสิ่งนี้จึงเป็นปัญหา มาทำให้เกิด User-Friendly Response กันเถอะ
อ่านต่อบทความนี้จะ พูดถึงวิธีการสร้าง Module ต่างๆภายใน Project ของ NestJs
อ่านต่อNestJS เป็น nodejs framework ตัวหนึ่งเป็น framework ที่เน้นไปทางการทำ Restful API Backend API การทำ GET POST ในลักษณะของ Module และไม่จำเป็นต้องไปหา library มาติดตั้งเอง
อ่านต่อบทความนี้เป็นการสรุปวิธีแก้ปัญหาและใช้งานเกี่ยวกับ TLS/SSL เมื่อใช้งานร่วมกับ NestJS
อ่านต่อวิดีโอด้านบนนี้ เป็นการสาธิตและทดสอบการประยุกต์โปรแกรมการเพิ่ม – ลดเสียงของเครื่อง MacOS โดยใช้ลักษณะของมือ ผ่านกล้อง Webcam ซึ่งจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง เป็นรายละเอียดคร่าวๆ ได้เขียนอธิบายไว้ และ มี Code สามารถ Download ไปลองทดสอบหรือลองเล่นได้เลยตาม link กดเข้ามาอ่านได้เลย
อ่านต่อหลังจากที่กำเนิด platform ที่มีชื่อว่า Facebook มาหลายปี นับตั้งแต่ 2009 จนถึงปัจจุบัน 2022 ก็บริษัท Facebook ก็เริ่มเปลี่ยนเป้าหมายของบริษัท ไปทำระบบ Metaverse หลายๆคนอาจจะเคยสงสัยว่า เวลาที่ ระบบที่เรียกกันว่า Social Network และกิจกรรมที่เรียกกันเพิ่มเพื่อนๆ มีขั้นตอนหรือการทำงานอย่างไร
อ่านต่อสมมติว่าเรามีข้อมูลและปัญหา อยู่ชุดหนึ่งที่มีตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป ในการแก้ปัญหาเราจะนำข้อมูลมา plot ลงในกราฟตาราง แล้วหาความสัมพันธ์ เพื่อได้ค่าที่ต้องการทราบ แต่วิธีนี้ค่อนข้างจะลำบากและใช้เวลานาน นักคณิตศาสตร์จึงคิดค้นเทคนิคต่างๆ เพื่อให้ง่ายในการคำนวณ ลองมาดูโจทย์สักตัวอย่าง
อ่านต่อปัจจุบันมีเว็บไซต์มากมายให้สามารถเข้าถึงข้อมูล โดยเป้าหมายและเหตุผล ก็แตกต่างกันไปตามลักษณะการนำไปใช้งาน อย่างเช่น การทำข้อมูลเสริมเพื่อการตัดสินใจ โดยการสร้าง Model Machine Learning เพื่อช่วยในการตัดสินใจ มาดูกันว่าทั้ง 5 ข้อมีอะไรบ้าง
อ่านต่อพื้นฐานเริ่มต้นการวิจัยคือการตั้งคำถาม แต่ไม่สักแต่ถามเพียงอย่างเดียวจะต้องพิสูจน์ด้วยว่าคำถามที่ถามมีคำตอบหรือไม่ จะได้คำตอบอย่างไรไม่สำคัญเพราะมันคือความรู้
อ่านต่อผู้เขียนกำลังสนใจในเรื่องของการวิเคราะห์ข้อมูล แล้วเจอคอร์สสอนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เลยสนใจจะนำมาสรุปหัวข้อและคำค้นหาต่างๆที่จะสามารถนำไปค้นคว้าหาข้อมูลต่อไปได้
อ่านต่อจากที่ได้เกริ่นเรื่องการดึงข้อมูลจากแหล่งข้อมูล (Data Collection) ไปในบท สรุปหน้าที่ของนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลและกระบวนการทางวิทยาการข้อมูล นั้น จะมาลงรายละเอียดในเรื่องนี้กันให้ลึกขึ้นอีกสักนิด ว่าในขั้นตอนนี้ มีกระบวนการอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง ลองเข้ามาทำความเข้าใจกัน
อ่านต่อPython มีคลาสที่ชื่อว่า getotp สำหรับช่วยในการส่งค่า options และ arguments เข้าไปในโปรแกรม แล้วนำค่าต่างๆ ที่ได้ไปใช้ในโปรแกรมต่อไป
อ่านต่อหากใครต้องการจะตั้งตั้ง application อื่นๆ ด้วย homebrew บน macbook m1 แล้วยังไม่รู้ขั้นตอนสามารถรับชมวิธีโออธิบายขั้นตอนได้เลยในบทความนี้
อ่านต่อผู้เขียนได้จัดทำวิดีโอ สอนการใช้งาน Colab กับ Iris Dataset ด้วย K-Nearest Neighbor หากใครเคยใช้แอปพลิเคชันหาชื่อสิ่งสินค้า หรือชื่อต้นไม้ ในบทความนี้จะแนะนำวิดีโอสอน การสร้าง Machine Learning เบื้องต้นด้วยการใช้ Algorithm KNN
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน Google Sheet ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน Google Sheet ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน Google Sheet ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน Google Sheet ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน SQL ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน SQL ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน SQL ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน SQL ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน RStudio และ R Programming ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน RStudio และ R Programming ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน RStudio และ R Programming ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกการใช้งาน RStudio และ R Programming ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกวิธีสรุปข้อมูลเพื่อนำไปสร้างกราฟ Ghaph/Chart ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกวิธีสรุปข้อมูลเพื่อนำไปสร้างกราฟ Ghaph/Chart ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกวิธีสรุปข้อมูลเพื่อนำไปสร้างกราฟ Ghaph/Chart ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อสำหรับบทความนี้จะเป็นการบันทึกวิธีสรุปข้อมูลเพื่อนำไปสร้างกราฟ Ghaph/Chart ที่จำเป็นในการใช้งานสำหรับ Data Science เป็นพื้นฐานที่สำคัญ
อ่านต่อคำแนะนำจากผู้เขียน - ใครที่สนใจในเรื่องข้อมูล วิชาสถิติถือว่าเป็น foundation ของเรื่องนี้ สำหรับบทความนี้ เป็นสรุปบันทึกการเรียนวิชา statistic 101 สำหรับนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล - sprint 05 ขอให้เครดิตแก่ Data Rockie ผู้เปิดโลกทัศน์วิชาด้านข้อมูล โดยที่ผู้เขียนเคยเรียนแล้วไม่เข้าใจแต่ เรียนกับคอร์สนี้แล้วเข้าใจ
อ่านต่อคำแนะนำจากผู้เขียน - ใครที่สนใจในเรื่องข้อมูล วิชาสถิติถือว่าเป็น foundation ของเรื่องนี้ สำหรับบทความนี้ เป็นสรุปบันทึกการเรียนวิชา statistic 102 สำหรับนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล - sprint 05 ขอให้เครดิตแก่ Data Rockie ผู้เปิดโลกทัศน์วิชาด้านข้อมูล โดยที่ผู้เขียนเคยเรียนแล้วไม่เข้าใจแต่ เรียนกับคอร์สนี้แล้วเข้าใจ
อ่านต่อคำแนะนำจากผู้เขียน - ใครที่สนใจในเรื่องข้อมูล วิชาสถิติถือว่าเป็น foundation ของเรื่องนี้ สำหรับบทความนี้ เป็นสรุปบันทึกการเรียนวิชา statistic 103 สำหรับนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล - sprint 05 ขอให้เครดิตแก่ Data Rockie ผู้เปิดโลกทัศน์วิชาด้านข้อมูล โดยที่ผู้เขียนเคยเรียนแล้วไม่เข้าใจแต่ เรียนกับคอร์สนี้แล้วเข้าใจ
อ่านต่อคำแนะนำจากผู้เขียน - ใครที่สนใจในเรื่องข้อมูล วิชาสถิติถือว่าเป็น foundation ของเรื่องนี้ สำหรับบทความนี้ เป็นสรุปบันทึกการเรียนวิชา statistic 104 สำหรับนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล - sprint 05 ขอให้เครดิตแก่ Data Rockie ผู้เปิดโลกทัศน์วิชาด้านข้อมูล โดยที่ผู้เขียนเคยเรียนแล้วไม่เข้าใจแต่ เรียนกับคอร์สนี้แล้วเข้าใจ
อ่านต่อ